ระบบนิวเมติกส์ หมายถึง ระบบการส่งถ่ายกำลังโดยอาศัยความดันลมเป็นตัวกลางในการส่งถ่ายกำลัง โดยมีอุปกรณ์ เช่น กระบอกสูบ ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานลมให้เป็นพลังงานกลข้อดีของระบบนิวเมติกส์มีความเร็วในการทำงาน ลมอัดมีความเร็วในการทำงานสูงทนต่อการระเบิด เพราะลมไม่ติดไฟ และไม่ระเบิดมีความปลอดภัย เนื่องจากอุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์ไม่เกิดความเสียหายเมื่อใช้งานเกินกำลังสามารถปรับความเร็วในระบบได้ง่าย และสะดวกในการติดตั้ง การส่งถ่ายลม สามารถส่งไปตามท่อหรือสายลมในระยะทางไกลๆได้โดยง่าย ส่วนลมที่ใช้แล้วสามารถปล่อยทิ
โดย : 26 December 2016เครื่องอัดลม (compressor)
โดย ภูดิส: 15 December 2014การควบคุมการทำงานของระบบนิวเมติกด้วยไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ไปได้ต้องอาศัยพลังของตัวเองในการเคลื่อนที่ และจะเคลื่อนที่ไปในทางที่สะดวกโดยผ่านตัวนำไฟฟ้า เราสามารถบังคับทิศทางกระแสไฟฟ้าได้โดยใช้สวิตช์ไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วยวัสดุที่ใช้ทำหน้าสัมผัส (contact) จะต้องเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี เช่น ทองแดง และทองเหลือง ส่วนตัวโครงสร้างของสวิตช์ไฟฟ้าจะเป็นฉนวน การควบคุมการทำงานของสวิตช์ไฟฟ้าอาจจุใช้ปุ่มกด หรือบิดให้ทำงานตามความต้องการ ส่วนการควบคุมการทำงานของระบบนิวแมติกด้วยไฟฟ้าในการจำกัดระยะ
โดย ภูดิส: 15 December 2014การบำรุงรักษาระบบนิวแมติก การบำรุงรักษาระบบปรับสภาพลมอัด ในระบบนิวแมติกที่ใช้เครื่องอัดลมจ่ายพลังงาน ลมอัดมักจะมีปัญหาเรื่องความชิ้นและฝุ่นละอองซึ่งปะปนอยู่ในบรรยากาศ จึงจำเป็นต้องกำจัดสิ่งสกปรกเหล่านี้ออกก่อนนำไปใช้งาน โดยการใช้กรองลมทำความสะอาดลมเพื่อกำจัดฝุ่นละอองและความชื้น ในบางครั้งอากาศมีปริมาณความชื้นมาก ในระบบก็จำเป็นจะต้องมีเครื่องทำให้อากาศแห้ง สำหรับกรองลมนั้นควรจะทำความสะอาดทุก ๆ 100 ชั่วโมงของการทำงานหรือประมาณ 3 เดือน โดยการนำเอากรองลมมาล้างทำความส
โดย ภูดิส: 15 December 2014การจ่ายลมอัดไปใช้ในระบบนิวแมติกมีความสำคัญ เช่น วิธีการเดินท่อจ่ายลมอัดและการเลือกขนาดท่อ จ่ายลมอัดให้มีความ สัมพันธ์กับปริมาณความต้องการลม เพื่อแก้ปัญหาความดันตกคร่อมที่จะเกิดขึ้นในท่อทาง และเป็นการประหยัดพลังงานอีกด้วย การติดตั้งท่อส่งลมอัด การวางท่อลมส่งลมอัดตามแนวนอนควรจะวางให้มีมุมเอียงลาดประมาณ 1 ถึง 2% ของความยาวท่อลมอัด และที่จุดปลายต่ำสุดหรือบริเวณ ที่อยู่ต่ำกว่าระดับ จะต้องติดวาล์วหรือกับดักน้ำสำหรับระบายน้ำที่เกิดการกลั่นตัวในท่อทางทิ้ง การแยกท่อลม
โดย ภูดิส: 15 December 2014อุปกรณ์ทำงานของระบบนิวแมติก. กระบอกสูบลม กระบอกสูบลมจะทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานลมอัดให้เป็นพลังงานกล ลักษณะ ในการเคลื่อนที่เป็นการเคลื่อนที่แบบเส้นตรง ในสมัยก่อนที่ลูกสูบลมจะเข้ามามีบทบาท ในงานอุตสาหกรรมยังใช้กลไกทางกลและทางไฟฟ้า มีความยุ่งยากในการควบคุม และปัญหาของช่วงชักจำกัด ดัง นั้นในอุตสาหกรรมสมัยใหม่จึงพัฒนาลูกสูบลมมาใช้ในงานจนถึงปัจจุบัน ตัวกระบอกสูบลมมักจะทำด้วยท่อชนิดไม่มีตะเข็บ เช่น เหล็ก อะลูมิเนียม ทองเหลือง สแตนเลสขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่ใช้ ภายในท่อจะต้องเจียรนั
โดย ภูดิส: 15 December 2014อุปกรณ์อื่น ๆ ในระบบนิวแมติก. ในระบบนิวแมติกที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมไม่จำเป็นจะต้องใช้ลมอัดมากระทำให้เกิดพลังงานเพียงอย่างเดียว แต่ในลักษณะงานบางประเภทจำเป็นที่จะต้องใช้ความนิ่มนวลในการทำงาน หรือต้องการใช้แรงมาก หรือต้องการใช้ไปดูดชิ้นงานให้เกิดการทำงานขึ้น ดังนั้นจึงนำเอาลมอัดไปใช้รวมกับอย่างอื่น เช่น นำลมอัดไปใช้รวมกับน้ำมันไฮดรอลิก เรียกว่าระบบไฮดรอลิกนิวแมติก (hydro-lic pneumatic systems) หรือนำลมอัดไปใช้ทำให้เกิดสุญญากาศโดยใช้ หัวจับสุญญากาศ (vacuum) ระบบไฮดรอน
โดย ภูดิส: 15 December 2014ชุดกรองลม F.R.L. (Filter-Regulator-Lubricator) กรองลม + ปรับแรงดันลม + จ่ายน้ำมันหล่อลื่น ในตัวเดียวกัน * รูปตัวอย่าง การใช้งานตัวกรองลม(ดักน้ำ) ร่วมกับอุปกรณ์อื่นในระบบนิวเมติกส์ สำหรับท่านใดที่สงสัยเกี่ยวกับ ชุดกรองลม แบบ F.R.L คืออะไร นั้นท่านสามารถดูรายละเอียดในแต่ละส่วนได้ดังนี้ค่ะ Air Filter หรือตัวกรองอากาศ เป็นตัวกรองสิ่งปนเปื้อนที่มากับลม เช่น ฝุ่น, เศษผง, สนิม) ที่ความละเอียด 40 ไมครอน และ สกัดละอองน้ำที่มากับลมบางส่วน อุปกรณ์ในส่วนนี้จะเป็นส่วนมาตรฐานที่ติดมากับชุ
โดย แอดมิน: 15 December 2014หลายปีที่ผ่านมา กระบอกลมหรือกระบอกสูบได้ถูกนำมาใช้ในงานนิวเมติกส์กันอย่างกว้างขวาง ด้วยเหตุผลหลักที่ผู้ใช้งานสามารถได้รับจากอุปกรณ์ประเภทนี้ก็คือ สามารถลดแรงงาน(มนุษย์), งานหรือระบบมีความถูกต้องและแม่นยำ คล่องตัว หรือยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น ตลอดจนสถานประกอบการหรือผู้ที่นำไปใช้งาน ยังสามารถลดค่าใช้จ่ายในระยะยาวได้เป็นอย่างดีนั่นเองค่ะ ในเนื้อหาบทความนี้ ผู้เขียนจะมานำเสนอข้อมูลเล็กๆน้อยๆ ที่อาจจะมีประโยชน์สำหรับผู้ที่สนใจหรือกำลังมองหา กระบอกลม/กระบอกสูบ ไปใช้ในงานนิวเมติกส์ของท่าน
โดย แอดมิน: 15 December 2014ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบนิวเมติก แบบทั่วไป คุณสมบัติของระบบนิวเมติก เมื่อเปรียบเทียบกับไฮดรอลิกนั้น จะมีหลายอย่างที่ใกล้เคียงกันมาก เนื่องจากระบบนิวเมติกและระบบไฮดรอลิกนั้นมีความสัมพันธ์ซึ่งเป็นลักษณะของ พลังงานของไหล เหมือนกัน เมื่อนำเอาระบบนิวเมติกเปรียบเทียบกับระบบโฮดรอลิก เราจะทราบถึงข้อแตกต่างกันของสองระบบได้ดังนี้: ความดันใช้งานของลมอัดในระบบนิวเมติกมีค่าอยู่ระหว่าง 6 ถึง 7 บาร์ แต่ถ้าต้องการความดันใช้งานสูงกว่านี้ก็ได้แต่ไม่เกิน 10 บาร์ ซึ่งน้อยกว่าความดันใช้งานของระบบไฮดรอ
โดย ภูดิส: 15 December 2014
สาระความรู้
ยินดีต้อนรับสำหรับผู้ที่สนใจในเรื่องราวของนิวเมติกส์และไฮโดรลิค เว็บไซต์ของเราเป็นเพียงหนึ่งช่องทางที่ต้องการมอบสิ่งที่ดีๆ มีคุณภาพให้กับผู้ที่แวะเข้ามาเยี่ยมชม ตลอดจนลูกค้าของเราด้วย ไม่ว่าจะเป็นการเลือกสรรอุปกรณ์ เครื่องมือ สินค้า หรือบริการต่างๆ มาไว้บริการลูกค้าของเรา เช่น อุปกรณ์นิวเมติกที่ทำงานเกี่ยวข้องกับลมอาทิ กระบอกลม หรือหลายท่านอาจจะเรียกในชื่ออื่นๆว่า กระบอกสูบ หรือ กระบอกลมนิวเมติก, ชุดกรองลม, ชุดปรับแรงดันลม, ปืนลม และอุปกรณ์ประเภทวาล์วต่างๆเช่น โซลินอยด์วาล์ว, วาล์วกลไก, แฮนด์วาล์ว เป็นต้น อีกทั้งเว็บไซต์ของเรายังมีอุปกรณ์/เครื่องมืออื่นๆ ที่อยู่ในส่วนของไฮโดรลิค ตลอดจนข้อมูลข่าวสาร สาระดีๆที่นำมาฝากกันให้ผู้อ่านหรือผู้ที่สนใจได้ศึกษากันเพิ่มเติมอีกด้วย
ในส่วนของข่าวสารและสาระความรู้ต่างๆ ทางเว็บไซต์ของเราจะมีข้อมูลข่าวสารที่คิดว่าน่าจะมีประโยชน์ สามารถใช้นำไปอ้างอิง หรือเพื่อใช้ในการตัดสินใจกรณีต้องการเลือกซื้อสินค้า หรืออุปกรณ์นิวเมติกส์และไฮโดรลิคได้ค่ะ